ความเอนเอียงในงานวิจัย 7 ระยะ ของ ความเอนเอียงของผู้ทดลอง

งานปริทัศน์เกี่ยวกับความเอนเอียงที่พบในการทดลองทางคลินิกในปี ค.ศ. 1979 แสดงว่า ความเอนเอียงต่าง ๆ สามารถเกิดขึ้นได้ในงานวิจัยงานใดงานหนึ่งใน 7 ระยะ คือ[1]

  1. เมื่อสืบหาข้อมูลที่มีอยู่แล้วในฟิลด์
  2. เมื่อกำหนดและเลือกตัวอย่างงานวิจัย
  3. เมื่อทำการทดลอง (เช่นการให้ยา)
  4. เมื่อวัดค่าตัวแปรที่เป็นประเด็นศึกษา และผล
  5. เมื่อวิเคราะห์ข้อมูล
  6. เมื่อตีความหมายการวิเคราะห์ข้อมูล
  7. เมื่อตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย

จริง ๆ แล้ว การที่มนุษย์ไม่สามารถดำรงความเป็นกลางได้โดยประการทั้งปวงเป็นแหล่งกำเนิดของความเอนเอียงต่าง ๆเป็นปัญหาที่เกิดบ่อยที่สุดในสังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์การแพทย์สาขาต่าง ๆ ซึ่งมักต้องใช้การทดลองแบบบอดสองทาง (double blind) เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาแต่ว่า ความเอนเอียงของผู้ทดลองก็สามารถเกิดได้ในวิทยาศาสตร์เชิงกายภาพอื่น ๆ เช่น เมื่อมีการปัดเศษค่าที่วัด

ใกล้เคียง

ความเสียวสุดยอดทางเพศ ความเจ็บปวด ความเหนือกว่าเทียม ความเท่าเทียมทางเพศ ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน ความเอนเอียงโดยการมองในแง่ดี ความเครียด (จิตวิทยา) ความเอนเอียงรับใช้ตนเอง ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก ความเป็นมาของตัวละครในเพชรพระอุมา

แหล่งที่มา

WikiPedia: ความเอนเอียงของผู้ทดลอง http://www.bioforensics.com/articles/sequential_un... http://books.google.com/books?id=2-5VL8PHLsIC&pg=P... http://www.skepdic.com/experimentereffect.htm http://gking.harvard.edu/gking/talks/bigprobP.pdf //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/11240080 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/18638252 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/447779 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/7745566 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1295164 //doi.org/10.1016%2F0021-9681(79)90012-2